top of page

The Monks Speak

คุยกับ พระ

Udon Map had the opportunity to speak with the head monks (abbott) at two local temples.  We were able to ask anything we wanted (within the limit of common courtesy, of course) and no topic was off limits.

We started with Abbott Prakroo Pho Thi Thamma Ko Sit, of Wat Pho Chai, Ban Dua, Tambon Makkaeng Muang Udon Thani, 54 years old.

He was born in Nongbua Lamphu (which was part of Udon Thani until it was established as a separate province in 1993).  He has eight brothers and sisters.

อุดรแม็พเราได้มีโอกาสในการสนทนากับท่านเจ้าอาวาสวัดสองรูปของวัดท้องถิ่นในจังหวัดอุดรธานี เราได้ถามทุกคำถามที่เราอยากรู้แต่แน่นอนว่าต้องอยู่ภายใต้มารยาทและความเหมาะสมซึ่งเราไม่ได้กำหนดหัวข้อในการสนทนาในตอนนั้นเลย

เราเริ่มการพูดคุยกับท่านพระครูโพธิธรรมโฆสิต เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัย (วัดบ้านเดื่อ) ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี ท่านอายุ 54 ปี

ท่านเกิดที่จังหวัดหนองบัวลำภู (จังหวัดหนองบัว-
ลำภูเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดอุดรธานี แล้วได้
แยกตัวออกไปเมื่อปี พ.ศ. 2536) ท่านมีพี่น้อง
ทั้งหมด 8 คน

Abbott Prakroo Phothithammakosit

of Wat Pho Chai

พระครูโพธิธรรมโฆสิต

เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัย

He started out as a teenager working for a printing company in Bangkok and worked there from ages 14 to 20.  While he had been to school as a child, his schooling stopped after grade 7; and he went to work for the printing company.  Following a custom of many Thai families, he returned to Nongbua Lamphu at age 20 to become a monk for a short period of time.  In his case, he first entered as a monk for only 15 days.  However, at the end of his 15 days, he wanted to study more about dharma.  Dharma is the teachings of the Buddha especially including the discourses on the fundamental principles (such as the Four Noble Truths and the Noble Eightfold Path), and less significantly the parables and the poems.  Dharma includes not only the sayings of the Buddha, but also includes later interpretation which helps explain the meaning.

So at the end of his initial 15 days, he wrote to the printing company in Bangkok and request additional time to serve as a monk.  Initially, he asked for one more month; but after that time he wanted to study more, so he asked for three more months.  Eventually he realized that he wanted to spend his life as a monk.

His family and friends were generally supportive of his decision.  While his immediate family was pleased with the decision, as it is an honor for a Thai family to have a monk, they were also concerned because he had been contributing significantly to the family’s support.  He had been earning a good salary at the printing company.  His girlfriend was also very supportive.  When he decided to spend the rest of his life as a monk, he wrote his girlfriend a letter and told her that he was going to remain as a monk for the rest of his life and that she was free to marry someone else.

As a monk, he resumed his education, completing both elementary and high school and receiving his bachelor’s degree from the Buddhist University campus at Amphoe Wangsapoong in Loei.  (The Buddhist University, more formally called Mahachulalongkornrajavidyalaya University, was founded in 1887 by King Chulalongkorn.  The main campus is in Bangkok; and it has 15 extension campuses throughout Thailand.)

Abbott Prakroo Pho Thi Thamma Ko Sit described a typical day for us.
            •    4:00:  Wake up.
            •    4:30:  Morning prayers.
           •    6:00:  Leave the temple with the alms bowl and the other monks to collect food. This temple’s monks go out in three groups of four monks each, for 20, 30 and 40 minutes.
            •    7:00:  All monks have returned to the temple. While others cook the food and prepare breakfast, the monks clean the temple.

 

This monk is a well known and respected teacher. Nearly every day, he spends the rest of the day away from the temple traveling to other cities in the province and even other provinces teaching dharma.

 

He also shared some of the more mundane details of a monk’s life with us. A doctor goes to the temple approximately monthly to check the health of the monks. The doctor is provided by the municipality. When a monk is taken ill, he goes to the government hospital, where care and treatment are provided free of charge.

 

This abbot is not only the director of the temple, he is also the temple’s accountant/ bookkeeper. The temple maintains a bank account where funds are deposited. Withdrawals require the signatures of both the abbot and the temple’s financial committee.  The temple pays no taxes.

 

Monks at this temple are permitted to use both the internet and email.

Monks don’t have days off or holidays/ vacations as we know them. They may be permitted to travel if invited to someone’s house for teaching and for the host to gain a better understanding of dharma. As this abbot is so well and widely respected, he has traveled to India, Taiwan, Hong Kong, Sri Lanka, the U.S. and Germany.

 

We asked him if there was a message he would like to send to foreigners. He replied that he would like foreigners who come to Thailand to learn about Thai culture and tradition as well as Buddhism and dharma.

ชีวิตของท่านเริ่มต้นจากการเป็นเด็กหนุ่นคนหนึ่งที่ทำงานในโรงพิมพ์ที่กรุงเทพฯ ท่านทำงานที่นั่นตอนช่วงอายุ 14-20 ปี ในวัยเด็กท่านจบการศึกษาชั้น ป.7 แล้วจึงได้ออกมาทำงานที่โรงพิมพ์เพื่อหาเลี้ยงครอบครัว ท่านได้กลับมาที่จังหวัหนองบัวลำ-ภูเมื่ออายุได้ 20 ปี เพื่อมาบวชเป็นพระสงฆ์ตามประเพณีไทย ในตอนแรกท่านคิดว่าจะบวชเพียง 15 วัน เท่านั้น พอครบ 15 วัน ท่านก็ยังอยากศึกษาธรรมะต่อ (ธรรมะ คือ คำสอนของพระพุทธ เจ้าซึ่งรวมถึงวาทกรรมเกี่ยวกับหลักการพื้นฐาน (เช่น อริยสัจ 4 และมรรค 8) คำอุปมาที่มีความหมาย แม้กระทั่งบทกวี ธรรมะไม่ได้มีแค่เฉพาะคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้นแต่รวมไปถึงการตี ความในภายหลังซึ่งจะช่วยอธิบายความหมายได้อีก)

ท่านได้อธิบายเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวันของท่านให้ฟังว่า

       - 4.00 น. ตื่นนอนทำกิจวัตรส่วนตัว
       - 4.30 น. ทำวัตรเช้า
       - 6.00 น. ออกบิณฑบาตรกับพระรูป
อื่นๆ ที่วัดแห่งนี้ได้แบ่งออกเป็นสามเส้นทางซึ่งแต่ ละเส้นทางจะมีพระสงฆ์จำนวน 4 รูป ใช้เวลาใน
การเดินทาง 20, 30, และ 40 นาที 
       - 7.00 น. พระสงฆ์ทุกรูปเดินทางกลับ มาที่วัดและฉันจังหันที่ญาติโยมได้จัดเตรียมไว้ หลังจากนั้นพระก็จะช่วยกันทำความสะอาด และพัฒนาวัด

ดังนั้นเมื่อ 15 วันแรกสิ้นสุดลงท่านได้เขียจดหมาย
ไปที่โรงพิมพ์ที่กรุงเทพฯ เพื่อขอลาต่ออีก 1 เดือน และอีก 3 เดือนจนในที่สุดท่านก็ได้ตัดสินใจอุทิศตนให้กับพระพุทธศาสนาตลอดชีวิต

 

ครอบครัว เพื่อนๆ และคนรักต่างก็สนับสนุนการ-ตัดสินใจของท่าน ในขณะที่ครอบครัวก็มีความยินดีกับการตัดสินใจในครั้งนี้เพราะมันเป็นเกียรติและ ความภาคภูมิใจที่มีบุคคลในครอบครัวได้บวชเป็น พระรวมไปถึงคนรักของท่านก็ให้การสนับสนุนท่าน เมื่อท่านบวชเป็นพระเช่นกัน แต่เมื่อท่านตัดสินใจที่จะบวชตลอดชีวิตแล้วนั้นท่านก็ได้เขียนจดหมายไป บอกเธอว่าท่านจะบวชตลอดชีวิตและให้อิสระกับคนรักที่จะไปแต่งงานกับคนอื่นได้

 

แต่อย่างไรก็ตามครอบครัวของท่านก็ยังกังวลเพราะท่านเป็นเสาหลักที่ได้ทำงานหาเงินมาจุนเจือครอบครัว ในขณะนั้นเงินเดือนจากโรงพิมพ์ถือว่าเป็นจำนวนมากในสมัยนั้น

หลังจากที่ท่านบวชเป็นพระ ท่านได้กลับมาศึกษาต่ออีกครั้งและได้เรียนจบชั้นมัธยนศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย และจบปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยสงฆ์ที่ อ.วังสะพุง จ.เลย (มหาวิทยาลัย-มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2430 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่-หัว ตั้งอยู่ในกรุงเทพฯ และมีอีก 15 วิทยา เขตทั่วประเทศ) ท่านพระครูโพธิธรรมโฆสิต

พระครูท่านเป็นพระที่มีชื่อเสียงและเป็นที่นับถือ เพราะเกือบทุกวันท่านใช้เวลาที่เหลือในแต่ละวัน เดินทางไปต่างอำเภอและต่างจังหวัดเพื่อเผยแผ่ ธรรมะ (ท่านเป็นพระนักเทศน์เสียงทองนักแหล่)

เจ้าอาวาสท่านนี้ไม่เพียงแต่เป็นเพียงผู้ปกครองวัดเท่านั้น ท่านยังเป็นนักบัญชีของวัดอีกด้วยเพราะท่านต้องบริหารจัดการการเงินในวัดทั้ง หมด

พระสงฆ์ที่วัดแห่งนี้ได้รับอนุญาตให้ใช้ทั้งอิน- เทอร์เน็ตและอีเมล พระสงฆ์สามารถเดินทางไปที่ต่างๆ ได้ ถ้าหากมีญาติโยมนิมนต์ให้ไปประ- กอบพิธีสงฆ์ที่บ้าน ท่านเคยเดินทางไปต่างประ- เทศมาแล้วหลายประเทศ เช่น อินเดีย ไต้หวัน ฮ่องกง ศรีลังกา สหรัฐอเมริกา และเยอรมันนี 

เราได้ถามท่านเกี่ยวกับสิ่งที่ท่านอยากฝากถึงชาวต่างชาติ ท่านได้บอกว่าท่านอยากให้ชาวต่างชาติผู้ ซึ่งเดินทางมาที่ประเทศไทยได้ศึกษาเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมไทย พระพุทธศาสนาและธรรมะ ไม่ใช่เพียงแค่สัมผัสพระพุทธศาสนาเพียงผิวเผินทางด้านวัตถุและรูปธรรม

Abbott

Prakroo Wutthipanyaporn
of Wat Arch Sura Witharn

พระครูวุฒิปัญญาภรณ์

เจ้าอาวาสวัดอาจสุรวิหาร

Next, we spoke with Abbott Prakroo Wutthipanyaporn, of Wat Arch Sura Witharn, Ban Nongbua Tambon Makkaeng Muang Udon Thani, who is 60 years old.

He was born in Nakornphanom Province. His family was poor and support was from farming.

Like many Thai boys, he became a neophyte monk when he was about 16 years old. His mother opposed this because she wanted him to work to help support the family. However, his father wanted him to enter the monkhood to honor his mother. His mother died from illness. After that, he decided to spend the rest of his life as a monk.

When he first became a monk, his friends assumed that it would be for a short period of time and he would return to civilian life shortly. However, he did not, and had to move away from all of his old friends. He was afraid that they would try to persuade him to leave the monkhood and rejoin them, which he did not want to do. He was devoting his life to being a devout monk. He had no girlfriend at the time.

Abbott Prakroo Wutthipanyaporn did not attend university; rather, he taught himself dharma. He is happy as a monk. Before becoming a monk, he was just drifting along through life with no plan. Now he feels happy and fulfilled.

Abbott Prakroo Wutthipanyaporn described his typical day for us, beginning with waking up a full hour later!

  • 5:00: Wake up.

  • 5:30: Morning prayers.

  • 6:00: He is not able to leave the temple with the mother monks to collect food in the morning because he is ill and too weak to join them. 

  • In the evening, he prays, then reads or watches TV before going to sleep.

He, too, shared some of the more mundane details of his life with us. A doctor goes to the temple approximately at least annually to check the health of the monks. The doctor is provided by the municipality. When a monk is taken ill, he goes to the government hospital, where his treatment is paid for by a foundation formed for this purpose.

หลังจากนั้นเราได้สนทนากับท่านพระครูวุฒิปัญ-ญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดอาจสุรวิหาร บ้านหนองบัว ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี ท่านอายุ 60 ปี 
 
บ้านเกิดของท่านอยู่ที่จังหวัดนครพนม ท่านเกิดใน
ครอบครัวชาวนา

 

การบวชสำหรับท่านแล้วก็เหมือนชายไทยหลาย
คนบวชเพื่อทดแทนพระคุณของบิดาและมารดา ท่านตัดสินใจบวชในพระพุทธศาสนาเมื่ออายุได้ 16 ปี เนื่องจากบิดาของท่านต้องการให้ท่านบวช
ในตอนที่มารดาของท่านป่วยหนัก แต่อย่างไรก็-
ตามมารดาของท่านไม่อยากให้ท่านบวชในตอนนั้นเพราะต้องการให้ท่านทำงานเพื่อหาเงินมาจุนเจือครอบครัวมากกว่า แต่หลังจากมารดาของท่านเสียชีวิตท่านก็ตัดสินใจบวชต่อเพราะต้องการศึกษาธรรมะอย่างแท้จริง

 

ช่วงแรกที่ท่านบวชนั้น เพื่อนๆ ของท่านคิดเพียงว่า
ท่านคงบวชเพียงระยะเวลาอันสั้น แต่ไม่เป็นเช่นนั้น เนื่องจากท่านมีความมุ่งมั่นที่จะศึกษาธรรมะอย่างจริงจังท่านจึงได้ย้ายไปอยู่ที่อื่นเพราะไม่ต้องการให้เพื่อน ๆ มารบเร้าให้ท่านลาสิกขาบท นอกเหนือจากเพื่อนแล้วผู้หญิงถือเป็นอีกอุปสรรคในการตัดสินใจเป็นพระสงฆ์ซึ่งตอนนั้นท่านไม่มีหญิงอันเป็นที่รัก ดังนั้นท่านจึงไม่มีปัญหามากนักในการปฏิบัติธรรม

 

ท่านพระครูไม่ได้เข้าเรียนในโรงเรียนหรือวิทยาลัย-
สงฆ์ใดๆ ท่านศึกษาพระธรรมด้วยตัวท่านเองโดย
การอ่านหนังสือ และการปฏิบัติธรรม ท่านรู้สึกมี
ความสุขดีกับการเป็นพระ เพราะก่อนหน้าที่จะมา
บวช ท่านไม่ได้มีเป้าหมายในชีวิตใดๆ แต่ในตอนนี้
ท่านรู้สึกมีความสุขและรู้สึกว่าชีวิตได้เติมเต็มแล้ว

 

ท่านได้อธิบายเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวันของท่านให้เราฟัง ว่าในแต่ละท่านทำอะไรบ้าง

          - 5.00 น. ตื่นนอน ทำกิจวัตรส่วนตัว

          - 5.30 น. ทำวัตรเช้า

          - 6.00 น. พระในวัดออกไปบิณฑบาตรยกเว้นท่านพระครู เพราะท่านป่วยจึงไม่สามารถ
ออกไปบิณฑบาตรได้

          - ในช่วงเย็นหลังจากทำวัตรเย็นเสร็จแล้ว ท่านมักจะอ่านหนังสือธรรมะและดูข่าวในโทรทัศน์
หรือฟังวิทยุบ้างก่อนที่จะเข้านอน

 

ท่านพระครูได้สนทนาและให้ข้อคิดทางโลกในหลายๆ เรื่องกับเรา สำหรับสุขภาพของพระสงฆ์แล้ว จะมีหมอจากสาธารณสุขเทศบาลนครอุดรธานีไปตรวจเช็คสุขภาพพระสงฆ์ที่วัดเป็นประจำอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง เมื่อพระสงฆ์มีอาการป่วย ท่านจะเข้ารับ
การรักษาที่โรงพยาบาลอุดรธานี และค่ารักษาพยา-
บาลนั้นจะมีมูลนิธิที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นทุนสำหรับใช้ใน

Abbott Prakroo Wutthipanyaporn was friendly and welcoming to us; and he had an award-winning smile!!

พระครูวุฒิปัญญาภรณ์ยิ้มขณะที่ท่านคุยกับเราอย่างมีความสุข

When a monk is taken ill, he goes to the government hospital, where his treatment is paid for by a foundation formed for this purpose.

Abbott Prakroo Wutthipanyaporn is ill, suffering from both gout and thalassemia.

Monks at this temple are permitted to use both the internet and email. Abbott Prakroo Wutthipanyaporn believes that technology is good. He advocates for the use of the internet if we use it for good things.

Abbott Prakroo Wutthipanyaporn has traveled to Sweden Nepal, India and Sri Lanka to visit people who have invited him.

He observed that when foreigners visit his temple, they no longer do so to learn about dharma, as they did years ago. Nowadays, most foreigners who visit the temple go to see the beauty of the building.

He would like foreigners who come to Thailand to learn about Buddhism and dharma directly from a teaching monk who is good. He acknowledged that some monks are not good and even engage in magic, contrary to the teachings of the Buddha.

These were interesting chats.  Sometimes monks can appear to us falangs as pensive, serious and detached. Yet these monks were not. They shared with us what drove them to devote their lives to Buddha. They allowed us to ask anything, without limitation. They even showed us that they have a sense of humor!! If you can speak Thai or have a friend who does, you, too, may find a friendly monk who will be happy to chat with you. It will likely be an interesting and enjoyable experience. Try it!!

การรักษาพยาบาลของพระสงฆ์ โดยส่วนตัวท่าน
พระครูท่านมีอาการป่วยทั้งโรคเก๊าท์และโรคธา-ลัสซีเมีย

 

พระสงฆ์ในวัดนี้ได้รับอนุญาตให้ดูโทรทัศน์และฟังวิทยุได้ตามความเหมาะสม เพราะท่านพระครู
คิดว่าเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่ดีหากเราใช้ในทางที่ถูกต้องจะช่วยให้เราได้รับข่าวสารที่ทันสมัย

 

ท่านพระครูเคยเดินทางไปต่างประเทศเป็นบาง
ครั้งหากได้รับกิจนิมนต์จากญาตโยม เช่น ประ-
เทศสวีเดน เนปาล อินเดีย และศรีลังกา

 

ท่านให้การสังเกตุว่าปัจจุบันชาวต่างชาติที่เข้ามาที่วัดพวกเขาไม่ได้เข้ามาเพื่อมาเรียนรู้ธรรมะอย่าง ที่เคยเป็นเหมือนเมื่อก่อน พวกเขาเข้ามาเพื่อชมความงดงามของโบสถ์ อาคารและอารามของวัดเท่านั้น

 

ท่านจึงอยากฝากให้ชาวต่างชาติที่เข้ามาที่ประเทศไทยได้เรียนรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและธรรมะอย่างถูกต้องจากพระสงฆ์ผู้ซึ่งปฏิบัติดีงาม ซึ่งในทุกสังคมย่อมมีคนไม่ดี เช่นเดียวกับพระสงฆ์ก็ย่อมมีพระสงฆ์ที่ปฏิบัติตนไม่เหมาะสม เช่น การแสดงอิทธิปฏิหาร เวทมนต์ คาถา ซึ่งขัดต่อคำสอนของพระพุทธเจ้า

 

ทั้งหมดนี้ต่างเป็นบทสนทนาที่น่าสนใจ บางครั้ง
พระสงฆ์จะแสดงให้ชาวต่างชาติเห็นว่า พระเป็น
บุคคลที่น่าเบื่อ เคร่งขรึม และสันโดษแต่ท่านทั้ง
สองไม่ได้แสดงออกในลักษณะนั้นเลย พวกท่าน
ได้แสดงความคิดเห็นกับเราว่าอะไรเป็นเหตุทำ ให้ท่านอุทิศตนในพระพุทธศาสนา

 

ท่านอนุญาตให้พวกเราถามคำถามได้โดยไม่มีข้อจำกัด และพวกท่านยังแสดงให้เห็นว่าท่านก็มีอารมณ์ขันเช่นเดียวกันกับเรา

 

หากเรามีโอกาสได้พบและสนทนากับพระสงฆ์

เราอาจจะได้เรียนรู้จากประสบการณ์ที่น่าสนใจในชีวิตที่ผ่านมาของท่าน เรื่องราวเหล่านั้น
อาจทำให้เรามีความสุขและอิ่มเอมก็เป็นได้

bottom of page